วันพุธที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2554

23/06/2011

รายงานสารธารณสมบัติ
คำยืนยัน เมื่อขอใช้
คำอุทิศลิขสิทธิ์เท่านั้น ตามกฎหมายสหรัฐอเมริกา) หรือการรับรองงานสาธารณสมบัติ
Finding cc material  >> flick
1.Preprint ฉบับร่าง
2.Postprint ฉบับสมบูรณ์
3.Grey Literature วรรณกรรมที่เผยแพร่ในวงแคบ
4.errata / corrigenda การปรับปรุงแก้ไข ฉบับเดิม

Preprint
- ฉบับร่างหรือต้นฉบับของข้อเขียนหรือบทความที่ยังไม่ผ่านการประเมิณคุณภาพ/ ตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ
-ส่วนใหญ่เขียนเพื่อวัตถุประสงค?ส่งตีพิมพ์ในวารสาร โดยเฉพาะกลุ่มเดียวกัน
Postprint
-ฉบับสมบูรณ์ที่จะใช้ในการตีพิมพ์
Grey Literature
-เอกสารที่หาในวารสารทั่วไปได้ยาก
-เอกสารที่ไม่ได้มีการตีพิมพ์โดยทั่วไป รวมถึงหนังสือ เอกสารการประชุม งานวิจัย ที่ต้องมีการควบคุมคุณภาพโดยมีการพิจรณาก่อนตีพิมพ์
-ข้อมูลที่จัดทำโดยรัฐ องค์กร ธุรกิจ ทั้งสิ่งที่เป็นสิ่งพิมพ์ และไม่เป็นสิ่งพิมพ์


white papers
-บทความที่บุคคล หรือกลุ่มที่่มีความเชี่ยวชาญในด้านนั้นๆนำเสนอเพื่อนอธิบายถึงผลของการพัฒนา
อาจเรียกได้ว่า เป็นกระบวนการให้การศึกษา เพื่อการตลาด แต่ไม่ใช่เรื่องของการโฆษณา หรือโฆษณาชวนเชื่อ
two key challenges of the deep
grey is * global
           * growing
           *good for ... science

errata / corrigenda
-การแก้ไขเอกสาร

Green OA : OA archives or repositories
Gold OA : OA journal

21/06/2011 ค่าปรับ

   ห้องสมุดกำหนดให้มีการปรับ เพื่อกระตุ้นให้มีการส่งคืนตามเวลาที่กำหนด และเป็นการกระจายหนังสือให้กับผู้ใช้รายอื่น


การกำหนดค่าปรับ
  •การกำหนดจำนวนแตกต่างกัน
  •ค่าปรับสำหรับการยืมระยะสั้นจะสูงกว่ากำหนดยืมระยะยาว
  •ค่าปรับทรัพยากรสารสนเทศแต่ละประเภทจะมีความแตกต่างกัน
  • ควรส่งเอกสารแจ้งเตือนวันส่ง

การจัดการปัญหาในการปรับ
   มีการผ่อนผัน (Grace period) มีการยกเว้น (Amnesty Programs) หากไม่มีการส่งคืน และ 
ไม่จ่ายค่าปรับ สิทธิการใช้ห้องสมุดถูกระงับ ในบางห้องสมุดอาจมีการใช้บริการติดตามจากบริษัท
ที่มีบริการติดตาม

การจ่ายค่าปรับ
•จ่ายทีบริการยืม - คืน
•จ่ายผ่านระบบอัตโนมัติ (Automated systems automatically calculate fines)
•เปิดให้มีการผ่อนผันการต่อรองระหว่างผู้ยืมและเจ้าหน้าที่
•สำหรับห้องสมุดมหาวิทยาลัย ค่าปรับจะต้องนำส่งมหาวิทยาลัย เนื่องจากเป็นเงินรายได้ 
แต่สามารถทำโครงการขอใช้งบประมาณจากเงินค่าปรับได้

ระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำเร็จรูปที่นิยมใช้  
         1. ระบบ URICA บริษัท Universal Communication System
         2. ระบบDYNIX บริษัท LIBNETS  ตัวแทน MARQIS
         3. ระบบ TINLIB บริษัท SCT Computer
         4. ระบบ INNOPAC
         5. ระบบ VTLS  บริษัท Book Promotion





วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2554

17/06/2011 บริการยืม-คืน

     เป้าหมายของบริการยืมคืน คือ การเปิดโอกาสให้ผู้ใช้ได้เข้าถึงสารสนเทศและนำไปศึกษาค้นคว้านอกสถาบันได้

ความรู้และทักษะของเจ้าหน้าที่
   •มีใจรักในงานบริการ มีความอดทนสูง

   •มีความรู้เกี่ยวกับทรัพยากรที่มีไว้บริการ
   •มีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ฐานข้อมูล OPAC
   •มีไหวพริบในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า

   •มีมนุษยสัมพันธ์ดี

ระบบห้องสมุดอัตโนมัติสำเร็จรูปที่นิยมใช้
         1. ระบบ URICA บริษัท Universal Communication System
         2. ระบบDYNIX บริษัท LIBNETS  ตัวแทน MARQIS
         3. ระบบ TINLIB บริษัท SCT Computer
         4. ระบบ INNOPAC
         5. ระบบ VTLS  บริษัท Book Promotion 




เทคโนโลยีที่มีการนำมาใช้ในบริการยืม คืน

1.เทคโนโลยีรหัสแถบ (Barcode)
2.คิวอาร์โค๊ด (QR Code, 2D Barcode)
3.เทคโนโลยีอาร์เอฟไอดี (Radio Frequency Identify - RFID)

barcode

QR Code
RFID





วันอังคารที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2554

14/06/2011 Library building

    1. โครงสร้างอาคารภายนอก  ควรออกแบบให้มีความหรูหราและทันสมัย ทั้งรูปแบบและโครงสร้างเพื่อดึงดูดความสนใจของผู้ใช้บริการ  รวมถึงสามารถรองรับผู้ใช้บริการได้ในจำนวนที่เหมาะสม ไม่มากจนแออัดเกินไป  วัสดุที่นำมาสร้างควรเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม  นอกจากนี้ควรคำนึงถึงสภาพแวดล้อมรอบๆห้องสมุดว่ามีเสียงดังรบกวนผู้ใช้หรือไม่ด้วย

courtesy of Birmingham City Council

Ballard Library, Seattle courtesy of Ballard Library




    2.  โครงสร้างภายในอาคาร การออกแบบโครงสร้างภายในห้องสมุดควรมีการจัดแบ่งพื้นที่การให้บริการเป็นหมวดหมู่  เช่น โซนเด็ก  เนื่องจากในปัจจุบันห้องสมุดไม่ได้มีแค่หนังสือ  แต่ความทันสมัยของเทคโนโลยีทำให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากมายในห้องสมุด  จึงควรมีการแบ่งหมวดหมู่หรือแบ่งโซนตามความเหมาะสม  อีกทั้งยังควรคำนึงถึงจำนวนโต๊ะ เก้าอี้  ความสูงหรือความกว้างของชั้นหนังสือ  การจัดเรียงหนังสือควรจัดให้ผู้ใช้สามารถค้นหาได้ง่ายและสะดวก และควรออกแบบต้องรองรับกับงานบริการผู้ใช้และการทำงานของบรรณารักษ์



Tk park

New Birmingham Library - Internal Images


    3. บริการอำนวยความสะดวกต่างๆ  ไม่ว่าจะเป็นบริการถ่ายเอกสาร แสกนรูปภาพและเครื่องฟังซีดี  ควรมีครบ เพื่อความสะดวกสบายของผู้ใช้บริการ


    4. ความสว่าง  ภายในห้องสมุดควรมีแสงสว่างเพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้  ไม่ทึบจนเกินไป



    5. ป้ายสัญลักษณ์  ไม่ว่าจะเป็นป้ายเตือนหรือป้ายบอกที่อยู่ของหนังสือ  ควรมีในทุกที่  เพื่อให้ผู้ใช้บริการทราบและสะดวกในการค้นหาทรัพยากรสารสนเทศ



    6. เฟอร์นิเจอร์  ในแต่ละโซนควรมีความเหมาะสมและจัดให้เป็นระเบียบ  เช่น โซนเด็ก ควรมีเฟอร์นิเจอร์ขนาดเล็กและมีสีสันสะดุดตา  เพื่อดึงดูดให้ผู้ใช้เข้ามาใช้บริการ  อีกทั้งในแต่ละมุมหรือแต่ละโซนควรมีเฟอร์นิเจอร์ที่นุ่ม  มีขนาดเหมาะสมและสะดวกสบาย 



    7. Library Equipment   เนื่องจากห้องสมุดในปัจจุบันมีความทันสมัย  อุปกรณ์ภายในห้องสมุดจึงควรมีความทันสมัยในด้านเทคโนโลยีด้วย  อีกทั้งควรมีจำนวนที่เหมาะสมและให้บริการผู้ใช้ได้อย่างทั่วถึง